บริการจัดส่งพวงหรีดวัดธาตุทอง
"เลอหรีด" คือ ร้านพวงหรีดออนไลน์ชั้นนำ ที่เปิดให้บริการจัดส่งพวงหรีดวัดธาตุทองทุกวันมาเป็นเวลามากกว่า 10 ปี เราจึงเข้าใจความต้องการของลูกค้าเป็นอย่างดี และสามารถติดต่อกับบุคลากรในวัดได้โดยตรง ทำให้การส่งต่อความอาลัยแด่บุคคลสำคัญของท่านสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้พวงหรีดในร้านของเรายังโดดเด่น สวยงาม ดีไซน์หรู เพราะวัตถุดิบทุกชิ้นเราคัดสรรอย่างพิถีพิถัน ออกแบบอย่างมีศิลปะโดยช่างมืออาชีพที่มีประสบการณ์มาอย่างยาวนาน สั่งซื้อตอนนี้เลย เราจัดส่งฟรี! ทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล พร้อมบริการพิเศษ ถ่ายรูปแจ้งสถานะเมื่อถึงที่หมาย
ลูกค้าองค์กร
สำหรับลูกค้าองค์กร นอกจากพวงหรีดวัดธาตุทองของร้านเลอหรีดจะสวยหรู สมเกียรติของบริษัทแล้ว เรายังมีบริการออกใบเสร็จ และใบกำกับภาษี พร้อมบริการจัดส่งเอกสารถึงมือ ไม่ว่าจะทางอีเมล หรือผ่านไปรษณีย์ถึงบริษัท โดยเจ้าหน้าที่จะส่งหมายเลข Tracking No. ให้ทุกครั้ง เพื่อให้ลูกค้าตรวจสอบสถานะ ในส่วนของการชำระเงินนั้น สามารถชำระเงินได้หลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นบัญชีธนาคาร ตัดบัตรเครดิต-เดบิต เราใส่ใจทุกขั้นตอนการให้บริการเพื่อให้ลูกค้าของเราได้รับสิ่งที่ดีที่สุด หากเลือกใช้บริการของเลอหรีด รับประกันว่าไม่ผิดหวังอย่างแน่นอน
ตัวอย่างพวงหรีด
ประวัติความเป็นมาของวัด
วัดธาตุทอง เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2481 แต่ที่จริงแล้วนับได้ว่าเป็นวัดที่มีประวัติมาอย่างยาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย เนื่องจากวัดธาตุทองนั้นเกิดขึ้นจากการรวมวัดในพื้นที่ คือ วัดหน้าพระธาตุ และวัดทองล่างเข้าด้วยกันนั่นเอง เดิมที่วัดหน้าพระธาตุถูกสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยอโยธยา มีที่มาของชื่อมาจากการที่บริเวณกลางวัดมีพระพุทธเจดีย์องค์ใหญ่ ซึ่งด้านในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่ ส่วนวัดทองล่าง เดิมเป็นสวนผลไม้ที่มีต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ขึ้นอยู่กลางสวน เจ้าของที่จึงบริจาคพื้นที่สร้างเป็นวัดขนาดเล็ก และตั้งชื่อว่าวัดโพธิ์สุวรรณาราม หรือวัดโพธิ์ทอง ต่อมาชาวบ้านแถวนั้นได้เรียกติดปากกันว่า วัดทอง แต่ด้วยเหตุที่มีวัดทองอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาหลายวัด ชาวบ้านจึงเรียกวัดแห่งนี้ว่า วัดทองล่าง เป็นต้นมา
ต่อมาในปี พ.ศ. 2480 รัฐบาลขอเวนคืนพื้นที่เพื่อสร้างท่าเรือกรุงเทพฯ จึงมีการชดเชยเงินให้ทั้ง 2 วัด เพื่อไปรวมกับวัดอื่นหรือสร้างวัดใหม่ ทำให้คณะสงฆ์ทั้ง 2 วัดรวมตัวกัน เกิดเป็นคณะกรรมการ ลงความเห็นว่าจะซื้อที่ดินในเวลานั้น และย้ายเสนาสนะถาวรวัตถุของทั้ง 2 วัด มารวมกันใหม่ในต.คลองบ้านกล้วย และตั้งชื่อว่า วัดธาตุทอง จากการนำชื่อของทั้ง 2 วัดรวมเข้าด้วยกัน
สถาปัตยกรรมและสิ่งที่น่าสนใจภายในวัด ได้แก่ พระสัพพัญญู, พระพุทธชินินทร, พระพุทธมนต์ปรีชา สุโขทัย, พระพุทธชินราชจำลอง, หลวงพ่อพระพุทธอภิบาลปวงชน, พระบรมสารีริกธาตุ, พระธาตุอินทร์แขวนจำลอง และพระเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ย้ายมาจากวัดหน้าพระธาตุ
สถานที่ตั้ง
1325 ถ. สุขุมวิท แขวง พระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
ช่องทางการติดต่อ
นิกาย : เถรวาท ธรรมยุติกนิกาย สีจีวรพระราชทาน
https://goo.gl/maps/HZQVMK5bNScVa1QM8การเดินทาง
1. รถยนต์ส่วนตัว : สามารถเดินทางได้จากถนนสุขุมวิททั้งขาเข้า และขาออก โดยวัดธาตุทองจะตั้งอยู่เยื้องศูนย์การค้า Gateway เอกมัย และติดกับโรงพยาบาลสุขุมวิท
2. รถโดยสารประจำทาง : – สาย 2 23 ปอ.23 25 ปอ.25 38 40 ปอ.40 48 71 ปอ.72 (ผ่านซอยสุขุมวิท 42 และ 63) 98 (ผ่านซอยสุขุมวิท 42) 501 508 511 513
3. รถไฟฟ้า BTS : – ลงสถานีเอกมัย (ฝั่งสายสุขุมวิท) ทางออกที่ 3
4. รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT : – ลงสถานีสุขุมวิท และต่อ รถไฟฟ้า BTS : ลงสถานีเอกมัย
สถานที่ใกล้เคียง
1. Sansiri Backyard : ฟาร์มกลางกรุงที่ให้คุณได้มาปล่อยใจ ป้อนหญ้าแพะ ป้อนอาหารปลา หรือจะเก็บผลไม้ ผักออร์แกนิกในสวนก็ยังได้ มีมุมสวยๆ ให้ถ่ายรูปไปลงโซเชียล แถมยังพาสัตว์เลี้ยงไปเดินเล่นได้ด้วย
2. The Parq Life : ห้างสรรพสินค้าบรรยากาศดี มีพื้นที่ให้นั่งเล่นผ่อนคลายอารมณ์ โดยเฉพาะ Q Garden ซึ่งเป็นสวนด้านบน มีต้นไม้ร่มรื่น
3. TE-LICIOUS WORKSHOP : ถ้าหากยังมีเวลาเหลือพอ เราอยากให้คุณได้ลองเข้าเวิร์กช็อปการชงชาที่จะสอนตั้งแต่ความรู้ขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นชาแต่ละแบบ การชงชาอย่างถูกวิธี ชนิดที่ว่าไม่มีความรู้ด้านนี้เลยก็มาเรียนได้ แถมยังมีคลาสให้เบลนด์ชารสชาติที่เป็นของคุณเพียงคนเดียวเท่านั้นด้วย
4. Urban Playground Climbing : ใครที่ชอบการปีนเขาแต่ไม่มีเวลาไปต่างจังหวัด ที่นี่คือทางเลือกที่ใช่ของคุณ โดยนอกจากกิจกรรมปีนเขาแล้วยังมีสนามแบดมินตัน สนามเทนนิส สระว่ายน้ำ และกีฬาอื่นๆ อีกมากมายให้คุณได้เสียเหงื่อไปกับมัน
5. พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และท้องฟ้าจำลอง : สำหรับใครที่เบื่อห้างแล้ว เราขอแนะนำท้องฟ้าจำลอง ศูนย์วิทยาศาสตร์ที่เปิดโอกาสให้คุณได้เข้าไปเรียนรู้เกี่ยวกับกลุ่มดาวต่างๆ ตลอดจนความรู้วิทยาศาสตร์ที่เด็กเรียนได้ ผู้ใหญ่เรียนก็ดี
รายชื่อศาลาภายในวัด ทั้งหมด 44 ศาลา
- ศาลา 1 :พ่อตุ๊ ม่วงโสภา
- ศาลา 2 :พิมล จงกลรัตน์
- ศาลา 3 :อุดม บุญประกอบ
- ศาลา 4 :สิทธิสยามการ
- ศาลา 5 :ศรีไมตรีพิทักษ์
- ศาลา 6 :ชวลิตธำรง
- ศาลา 7 :แก้ว-ทองดีอัตถากร
- ศาลา 8 :วรรณสุพิน
- ศาลา 9 :ชูทับทิม
- ศาลา 10 :ศวงษ์วิเศษศุภวัตร์
- ศาลา 11 :ใต้ศวงษ์
- ศาลา 12 :หม่อมจันทร์เทวกุล
- ศาลา 13 :พงศักดิ์
- ศาลา 14 :เติม ณ ป้อมเพชร
- ศาลา 15 :พรอนงค์
- ศาลา 16 :ชำนาญวนกิจ
- ศาลา 17 :โกศล
- ศาลา 18 :โสภณอักษรกิจ
- ศาลา 19
- ศาลา 20
- ศาลา 21 :แพอนุสรณ์
- ศาลา 22 :ทรงวงศ์สงวน
- ศาลา 23 :อ๋องอิวกี่
- ศาลา 24 :วันเกษม
- ศาลา 25 :วิสนุวิมล
- ศาลา 26 :สมุน-อรุณ สิงหเสนี
- ศาลา 27 :แม่สุพร เปรมศิลป์
- ศาลา 28 :จุลินทร์-สงวนลำซำ
- ศาลา 29 :จิตรสนิท
- ศาลา 30 :อรรถมนุญเนตยาทร
- ศาลา 31 :ศรีดารณพ
- ศาลา 32 :เสถียรไทย
- ศาลา 33 :เจ้าจอม
- ศาลา 34 :แม่เลียม
- ศาลา 35
- ศาลา 36
- ศาลา 37
- ศาลา 38 :จุลินทร์-ลำซำ
- ศาลา 39
- ศาลา 40
- ศาลา 41
- ศาลา 42
- ศาลา 43
- ศาลา 44 :เสถียรไทย
- ศาลา 1 :พ่อตุ๊ ม่วงโสภา
- ศาลา 2 :พิมล จงกลรัตน์
- ศาลา 3 :อุดม บุญประกอบ
- ศาลา 4 :สิทธิสยามการ
- ศาลา 5 :ศรีไมตรีพิทักษ์
- ศาลา 6 :ชวลิตธำรง
- ศาลา 7 :แก้ว-ทองดีอัตถากร
- ศาลา 8 :วรรณสุพิน
- ศาลา 9 :ชูทับทิม
- ศาลา 10 :ศวงษ์วิเศษศุภวัตร์
- ศาลา 11 :ใต้ศวงษ์
- ศาลา 12 :หม่อมจันทร์เทวกุล
- ศาลา 13 :พงศักดิ์
- ศาลา 14 :เติม ณ ป้อมเพชร
- ศาลา 15 :พรอนงค์
- ศาลา 16 :ชำนาญวนกิจ
- ศาลา 17 :โกศล
- ศาลา 18 :โสภณอักษรกิจ
- ศาลา 19
- ศาลา 20
- ศาลา 21 :แพอนุสรณ์
- ศาลา 22 :ทรงวงศ์สงวน
- ศาลา 23 :อ๋องอิวกี่
- ศาลา 24 :วันเกษม
- ศาลา 25 :วิสนุวิมล
- ศาลา 26 :สมุน-อรุณ สิงหเสนี
- ศาลา 27 :แม่สุพร เปรมศิลป์
- ศาลา 28 :จุลินทร์-สงวนลำซำ
- ศาลา 3 :อุดม บุญประกอบ
- ศาลา 29 :จิตรสนิท
- ศาลา 30 :อรรถมนุญเนตยาทร
- ศาลา 31 :ศรีดารณพ
- ศาลา 32 :เสถียรไทย
- ศาลา 33 :เจ้าจอม
- ศาลา 34 :แม่เลียม
- ศาลา 35
- ศาลา 36
- ศาลา 37
- ศาลา 38 :จุลินทร์-ลำซำ
- ศาลา 39
- ศาลา 40
- ศาลา 41
- ศาลา 42
- ศาลา 43
- ศาลา 44 :เสถียรไทย
- ศาลา 1 :พ่อตุ๊ ม่วงโสภา
- ศาลา 2 :พิมล จงกลรัตน์
- ศาลา 3 :อุดม บุญประกอบ
- ศาลา 4 :สิทธิสยามการ
- ศาลา 5 :ศรีไมตรีพิทักษ์
- ศาลา 6 :ชวลิตธำรง
- ศาลา 7 :แก้ว-ทองดีอัตถากร
- ศาลา 8 :วรรณสุพิน
- ศาลา 9 :ชูทับทิม
- ศาลา 10 :ศวงษ์วิเศษศุภวัตร์
- ศาลา 11 :ใต้ศวงษ์
- ศาลา 12 :หม่อมจันทร์เทวกุล
- ศาลา 13 :พงศักดิ์
- ศาลา 14 :เติม ณ ป้อมเพชร
- ศาลา 15 :พรอนงค์
- ศาลา 16 :ชำนาญวนกิจ
- ศาลา 17 :โกศล
- ศาลา 18 :โสภณอักษรกิจ
- ศาลา 19
- ศาลา 20
- ศาลา 21 :แพอนุสรณ์
- ศาลา 22 :ทรงวงศ์สงวน
- ศาลา 23 :อ๋องอิวกี่
- ศาลา 24 :วันเกษม
- ศาลา 25 :วิสนุวิมล
- ศาลา 26 :สมุน-อรุณ สิงหเสนี
- ศาลา 27 :แม่สุพร เปรมศิลป์
- ศาลา 28 :จุลินทร์-สงวนลำซำ
- ศาลา 3 :อุดม บุญประกอบ
- ศาลา 29 :จิตรสนิท
- ศาลา 30 :อรรถมนุญเนตยาทร
- ศาลา 31 :ศรีดารณพ
- ศาลา 32 :เสถียรไทย
- ศาลา 33 :เจ้าจอม
- ศาลา 34 :แม่เลียม
- ศาลา 35
- ศาลา 36
- ศาลา 37
- ศาลา 38 :จุลินทร์-ลำซำ
- ศาลา 39
- ศาลา 40
- ศาลา 41
- ศาลา 42
- ศาลา 43
- ศาลา 44 :เสถียรไทย
ที่จอดรถในวัด
ในวัดมีลานจอดรถขนาดใหญ่ สามารถจอดได้ 200 คัน แต่หากที่จอดรถเต็ม สามารถไปจอดได้ที่ Gateway Ekamai, สหกรณ์เอกมัย, Major Cineplex Sukhumvit และลานจอดรถขนส่งเอกมัย Bus Station (Eastern) โดยแต่ละที่มีค่าจอดรถที่แตกต่างกันออกไป สามารถสอบถามจากเจ้าหน้าที่ของแต่ละที่นั่งได้เลย